ข่าวสุขภาพอื่นๆ

โรคเสพติดการนอน มีผลอย่างไรบ้างกับสุขภาพ

โรคเสพติดการนอน Posted On
Posted By Narong Santisakul

การนอนนับว่าเป็นรูปแบบการพักผ่อนอย่างหนึ่งที่ดีต่อสุขภาพร่างกายแต่ในคนบางคนก็มักจะชอบทำกิจกรรมต่างๆบนเตียงไม่ว่าจะเป็นการอ่านหนังสือการทำงาน รวมถึง บางคนถึงขั้นกินข้าวบนเตียง แม้ว่าจะมีความสะดวกสบายแล้วแต่ก็จะทำให้ มีสดผลเสียต่อสุขภาพซึ่งในบางครั้งอาจจะไม่รู้ตัว เราลองมาดู โรคที่มีชื่อว่า โรคเสพติดการนอน จะส่งผลร้ายอย่างไรบ้างกับสุขภาพของท่าน

โรคเสพติดการนอน
  • โรคเสพติดการนอนถือว่าเป็นโรควิตกกังวลประเภทหนึ่งที่มี ชื่อว่าClinomania ซึ่งจัดว่าเป็นโรคจิตเภทในกลุ่มเดียวกับโรคซึมเศร้าซึ่งเป็นการทำงานของสาร dopamine ในสมองที่ทำงานผิดปกติซึ่งคนในกลุ่มนี้ จะสังเกตได้จากอาการ
  • ชอบนอนตลอดเวลาไม่ว่ามีเวลาว่างเมื่อไหร่ ก็จะต้องนอนหลับทุกครั้งไม่ว่าตอนกลางคืนจะนอนมายาวนานแล้วก็ตามแต่ก็จะสามารถรับได้ตลอดเวลาเหมือนหลีกเลี่ยงจากปัญหาชีวิตประจำวันให้หลับเพื่อหาทางหนีปัญหาไปดีกว่า
  • ทำทุกอย่างบนเตียง ปกติแล้วผู้คนส่วนใหญ่ก็จะมีการนอนบนเตียงนอนหรือบางคนอ่านหนังสือบนเตียงหรือเล่นเกมโทรศัพท์บนเตียงนอนไม่ใช่เรื่องแปลกแต่ในบางครั้งทำกิจกรรมทุกอย่างอยู่บนเตียงเพราะรู้สึกว่าเป็นสถานที่ที่มีความอบอุ่นและปลอดภัยจึงสามารถที่จะสะดวกใจทำทุกอย่างได้บนเตียงนอนแม้กระทั่งรับประทานอาหารหรือทำงานต่างๆ
  • ซึ่งผลเสียของการเสพติดการนอนตลอดเวลานั้นก็คือทำให้สมองท่านมีความเฉยชาส่งผลทำให้อาจเกิดโรคซึมเศร้าได้รู้สึกไม่กระฉับกระเฉงและในบางขั้นอาจจะเป็นโรคซึมเศร้าได้พยายาม หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้าปัญหาชีวิตประจำวันด้วยการนอนหลับถึงแม้ว่าอาจจะไม่ส่งผลต่อสุขภาพร่างกายโดยตรงนะแต่นับว่าส่งผลรุนแรงต่อสุขภาพจิตและเมื่อสุขภาพจิตไม่ดีแล้วย่อมทำให้เกิดสุขภาพร่างกายแข็งแรงเพราะว่าสุขภาพจิตและสุขภาพร่างกายสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก

ทางแก้ไขปัญหาผู้เสพติดการนอนเริ่มต้นด้วยการที่ เริ่มต้น ด้วยการต้องพยายามออกจากเตียงให้ได้ก่อนแล้วไปปรึกษากับแพทย์เพื่อหาสาเหตุว่ามีสิ่งใดที่ต้องทำให้ต้องการนอนมากกว่าปกติเพราะในบางท่านอาจจะมีปัญหาด้านสุขภาพกายหรือในบางท่านอาจจะเป็นปัญหาด้านสุขภาพจิตครอบครัวรักษาให้ตรง หลังจากนั้นก็ค่อยๆปรับพฤติกรรมเพื่อให้มีความกระฉับกระเฉงมากยิ่งขึ้น

อีกทั้งการ การเสพติดการนอน ทำให้ร่างกายกล้ามเนื้อไม่แข็งแรงอ่อนล้าควรจะมีการฟื้นฟูให้กล้ามเนื้อที่ไม่ได้ถูกการทำงานกลับมาแข็งแรงเพิ่มขึ้นเริ่มจากการออกกำลังกายแบบเบาๆ และปรับระดับสู่การออกกำลังกายให้สูงขึ้นตามลำดับเพื่อให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงมากยิ่งขึ้นอีกทั้งควรจะมีการปรับการรับประทานอาหาร เพื่อชดเชยกับ ชวงเวลาที่นอนไปก็อาจจะทำให้ร่างกายของผู้ที่เสพติดการนอนนั้นขาดสารอาหารได้

โรคเสพติดการนอน

ผลเสียผู้ที่เสพติดการนอนนั้นจะมีแนวโน้มเป็นโรคซึมเศร้าได้สูงรวมถึงอาจจะทำให้สามารถเป็นโรคขาดสารอาหารและร่างกายไม่แข็งแรงไม่กระปรี้กระเปร่าเพราะว่าทำให้ขาดการใช้สมองใช้ความคิดสร้างสรรค์ในแต่ละวันและทำให้ภูมิต้านทานต่ำเพราะว่าอยู่ในห้องนอนตลอดเวลาไม่สามารถได้รับวิตามินDจากแสงแดดภายนอกและนี่ก็คือผลเสียสำหรับผู้ที่เสพติดการนอน

ดังนั้นหากพบว่ามีการนอนมากกว่าปกติหรือนอนติดเตียงทั้งวันก็ควรปรึกษาจิตแพทย์เพื่อรักษาให้ตรงจุดเพราะว่าสุขภาพจิตย่อมส่งผลต่อสุขภาพ ร่างกายภายนอกอย่างสัมพันธ์กันมากสุขภาพร่างกายแข็งแรงไปด้วยเพราะถ้าหากพัฒนาเป็นโรคซึมเศร้าเนื่องจากสารเคมีในสมองผิดปกติแล้วก็จะทำให้อาจมีแนวคิดในการฆ่าตัวตายได้สูง

Related Post