โรคภัยไข้เจ็บ

“โรคลมแดด” (Heat Stroke) ภัยเงียบสั่งตาย เรื่องราวใกล้ตัวน่ารู้

Posted On
Posted By Biim

ถึงประเทศไทยจะเข้าสู่ฤดูฝนก็ตาม แต่ไม่สามารถพูดได้เต็มปากว่าเป็นฤดูฝนจริง ๆ เนื่องจากภูมิศาสตร์ของประเทศตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร ที่ค่อนข้างมีอากาศร้อนชื้น ปัญหาที่ตามมาคือ โรคลมแดด ภัยเงียบที่เอาตาย แบบฉับพลันพร้อมวิธีป้องกัน และทำความเข้าใจเกี่ยวกับโรคนี้

โรคลมแดด

โรคลมแดด คืออะไร

โรคลมแดดเกิดจาก อุณหภูมิในร่างกายพุ่งสูงขึ้นในระดับ 40 องศา เนื่องจากสภาพอากาศที่ร้อนจัด ส่งผลทำให้ระบบเลือดมีปัญหา รวมถึงสมอง บางรายอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้เลยในทันที หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี

อาการโรคลมแดด รู้ทันกันได้

โรคลมแดด หรือHeat Stroke สามารถสังเกตได้ง่าย ๆ คือ จะไม่มีเหงือถึงแม้อากาศจะร้อนมากก็ตาม คอเริ่มแห้งกระหายน้ำ ร่างกายเริ่มมีอุณหภูมิสูงขึ้นเรื่อย ๆ เพียงการสัมผัส หากไม่ได้รับการรักษาอาการต่อไปจะรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ด้วยอาการเวียนศีรษะ มึน คลื่นไส้อาเจียน หายไม่ทัน อาจช็อค และเสียชีวิตในที่สุด เนื่องจากภาวะขาดน้ำ

โรคลมแดด

วิธีบรรเทาอาการโรคลมแดด

เมื่อใดก็ตามที่มีความจำเป็นต้องออกไปเจอสภาพอากาศที่ร้อนจัดๆ สุขภาพดี ให้เลือกสวมเสื้อที่ระบายอากาศได้ดี ดื่มน้ำบ่อย ๆ ถึงแม้จะไม่หิวก็ตาม หลีกเลี่ยงดื่มแอลกอฮอล์ท่ามกลางอากาศที่ร้อน “โรคจิตเวช” หากทำความเข้าใจได้ แก้ได้ทันไม่น่ากลัวอย่างที่คิด เพราะร่างกายที่ร้อนจะดูดซึมแอลกอฮอล์ได้ยิ่งดียิ่งขึ้น ส่งผลทำให้เกิดอาการปวดศีรษะแบบฉับพลันได้

หากพบว่าตามร่างกายของเราเริ่มมีสีผิวแดงขึ้นเรื่อยๆหรือผิวแห้ง อ่อนเพลีย หน้ามืดเมื่อใด จำเป็นต้องเข้าที่ร่มทันที นอนกับพื้นพร้อมชูเท้าทั้ง 2 ข้างขึ้น จากนั้นนำผ้าเย็น ๆ มาชุบตัว หรือโปะตรงรักแร้ หรือจุดอับ ๆ เนื่องจากหากร่างกายกำลังเข้าสู่ภาวะฮีทโสตรก รูขุมขนจะปิด ทำให้เหงื่อไม่สามารถระบายออกมาได้ ดังนั้นการทำให้ร่างกายกลับมาชุ่มชื้นอีกครั้ง จึงเป็นวิธีที่ดีที่สุด แต่ถ้าหากอาการไม่ดีขึ้นในเวลาต่อมา จำเป็นต้องไปพบแพทย์โดยด่วน

เตรียมตัวอย่างไรหากต้องออกแดด

สำหรับเด็ก คนชรา และหญิงตั้งครรภ์ต้องหลีกเลี่ยงอากาศที่ร้อนจัด หากจำเป็นต้องเผชิญกับแดดจัด เลือกสวมเสื้อสบายๆร่างกายจะได้ระบายอากาศได้ดี ดื่มน้ำสะอาดบ่อยๆถึงแม้จะไม่หิวก็ตาม และที่สำคัญ ฝาก10รับ100 รวมค่าย ห้ามดื่มแอลกอฮอล์ ในช่วงที่มีอากาศร้อนจัดมาก ๆ เพราะการดูดซึมแอลกอฮอล์ของร่างกายนั้น จะเป็นตัวเร่งช่วยทำให้อาการฮีทสโตรก

Related Post